เงินเดือนเท่าไรเสียภาษี

เรื่องของการเสียภาษีที่เข้ามาก็มันจะถามกันว่าคนเราเนี่ยคะมีรายได้เท่าไหร่เนี่ยต้องเริ่มต้นเสียภาษีหรือบางคนก็ออกแนวบ่นนิดนึงทำไมรายได้ก็นิดเดียวมันต้องเสียภาษีด้วยหรอที่จริงแล้วเนี่ยมันก็ตอบชัดๆไม่ได้หรอกว่ารายได้เท่าไหร่เริ่มต้นเสียภาษีเพราะว่าคนเราเลยต่อให้รายได้เท่ากันเป๊ะเลยก็ใช่ว่าจะเสียภาษีเท่ากันเพราะว่าแต่ละคนก็มีค่าใช้จ่ายแล้วก็รายการหักที่เรียกว่าค่าลดหย่อนแตกต่างกันเพราะฉะนั้นคนแต่ละคนที่มีค่าลดหย่อนแตกต่างกันก็เป็นไปได้ว่าบางคนอาจจะต้องถึงเกณฑ์เสียภาษีในขณะที่บางคนก็อาจจะยาวจ๊ะที่นี่ก็คือเงินเดือนทั้งหลายพวกเราน่าจะต้องรู้จักวิธีคิดคำนวณภาษีกันสักหน่อยโดยปัจจุบันวิธีคิดภาษีสำหรับมนุษย์เงินเดือนเราเรียกว่าเงินได้สุทธิขีดเส้นใต้คำว่าสุทธิเลยเพราะว่าเขาไม่ได้มองที่รายได้เขาจะต้องมองรายได้หลังจากการหักค่าใช้จ่ายและค่าลดหย่อนต่างๆคิดเป็นเงินได้รู้ว่าใครที่มีเงินได้สุทธิเยอะก็ต้องเสียภาษีเยอะและใครที่มีการเสียภาษีน้อยตามด้วยวิธีการคำนวณเขาก็จะรวมรายได้ของเราทั้งปีเลยรวมรายได้ทุกอย่างเลยไม่ว่าจะเป็นเงินเดือนโอทีคอมมิชชั่นโบนัสรวมทั้งหมดทั้งขี่จากนั้นก็หักด้วยค่าใช้จ่ายซึ่ง
มนุษย์เงินเดือนอย่างพวกเราเขาให้เหมาคิดเป็น
50 เปอร์เซ็นต์ของรายได้แต่ไม่เกิน 1
แสนบาทจากนั้นก็หักด้วยค่าลดหย่อนโดยเบื้องต้นได้สรรพากรท่านก็จะให้ค่าลดหย่อนส่วนตัวไว้ที่
60,000
บาทถ้าเรามีค่าลดหย่อนอื่นก็เอาไปหักได้เลยมาที่เช่นดอกเบี้ยบ้านเบี้ยประกันชีวิตเงินซื้อกองทุนรวมกองทุนประกันสังคมกองทุนกบขกองทุนสํารองเลี้ยงชีพลดหย่อนลูกจิปาถะอยากจะเข้าไปให้หมดเลยสุดท้ายปลายทางเมื่อหักลบเรียบร้อยก็จะเหลือเป็นเงินได้สุทธิซึ่งตามกฎหมายปัจจุบันเลยคนที่มีเงินได้สุทธิยังไม่ถึง
10,000 บาทก็ยังไม่ต้องเสียภาษีหรือพูดอีกอย่างก็คือเสียภาษีในอัตรา 0% ดังนั้นเลยถ้าคนคนนึงยังไม่มีค่าลดหย่อนใดๆเลยแล้วเรามีรายได้รวมทั้งปียังไม่เกิน
300,000 บาทหรือคิดตกเฉลี่ยต่อเดือน 20,000 5833
บาทแล้วเราก็ยังไม่ต้องเสียภาษีแม่ดีใจล่ะสิๆเลยไม่ใช่ว่ารายได้ของเรายังไม่ถึงเกณฑ์จะต้องเสียภาษีแต่นั่นไม่ได้หมายความว่าเราไม่ต้องยื่นแบบแสดงรายการเพื่อเสียภาษีเพราะว่ากฎหมายกำหนดไว้ว่าคนที่มีรายได้รวมทั้งปีตั้งแต่
1 000
บาทขึ้นไปนั้นต้องยื่นแบบแสดงรายการภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาความหมายก็คือยืดแล้วอาจจะไม่ต้องใช้ก็ได้แต่ถ้ามีรายได้เกิน
2 ไม่ยื่นโดนปรับ
เสียภาษีเท่าไรกับเงินเดือน
ความคิดเห็น
แสดงความคิดเห็น