ข้ามไปที่เนื้อหาหลัก

ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย คืออะไร

ภาษีหัก ณ ที่จ่าย คืออะไร

ภาษีหัก ณ ที่จ่าย คืออะไร

จะเป็นซีรีย์ภาษี 10 นาทีเราเริ่มด้วยเรื่องของภาษีที่หลายคนงงและสงสัยก็คือเรื่องของภาษีเงินได้หักณที่จ่ายกันระดับแรกขออนุญาตเล่าก่อนว่าภาษีเงินได้หักณที่จ่ายหรือที่เราคุยกันว่าภาษีหักณที่จ่ายเนี่ยมันคืออะไรเริ่มจากตรงนี้ก่อนจริงๆแล้วก็บอกว่าสิ่งที่เราต้องรู้ก่อนคือภาษีหักณที่จ่ายเนี่ยมาเป็นส่วนหนึ่งของภาษีเงินได้อันนี้พูดได้หลักการก่อนรายการตัวนี้มาจากไหนก็คือหลักการคือภาษีเงินได้เนี่ยปกติแล้วจะคำนวณขึ้นมาจากปลายปีก้อนหนึ่งก็ได้ปลายปีนี้คือภาษีทั้งปีที่มันคิดออกมาถูกไหมเพราะคิดว่าเสร็จแล้วเนี่ยเราจะมาหักด้วยภาษีอีก 2 ตัวคือภาษีครึ่งปีที่คิดจากรอบบัญชีหรือจำนวนและเวลาครึ่งปีที่แล้วแต่ว่าเป็นเงินได้แบบไหนถ้าเป็นบุคคลธรรมดาก็ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาครึ่งปีนิติบุคคลก็ภาษีเงินได้นิติบุคคลครึ่งปีก็จะมีตัวนึงมาหักออกอีกตัวนึงก็คือภาษีก็จะมาหาหมอเหมือนกันและตอนนั้นน่ะปลายปีของเราได้ยื่นภาษีมันก็เลยจะเป็นคำตอบว่าเราจะได้ภาษีคืนหรือว่าต้องจ่ายเพิ่มเท่าไหร่คนที่ได้คืนสำหรับคนที่ได้คือเนี่ยก็ดีใจรู้ไหมแต่ว่าความเป็นจริงแล้วมันกำลังจะบอกว่าไอ้ภาษีเงินได้ที่เราคำนวณได้เนี่ยมันถูกหักหรือเราจ่ายครึ่งปีหรือรวมไปแล้วมากกว่าภาษีแล้วต้องจ่ายจริงเราเลยมีสิทธิ์ได้คืนนี่คือหลักการถามว่าภาษีหักณที่จ่ายมีไว้ทำอะไรมีไว้เป็นการนำเงินส่งล่วงหน้าให้กับภาครัฐโดยเขากำหนดว่าคนจ่ายเงินได้เนี่ยมีหน้าที่ต้องหักภาษีอันนี้คือหน้าที่ของจ่ายไม่ใช่ว่าจ่ายแล้วจบอย่างเดียวมันจะจบก็มีแต่ว่าอันนี้เราจะพูดในส่วนของหลักการก็คือมันเป็นการจ่ายเพื่อนำส่งคุณจ่ายหรือถูกหักไปเนี่ยคนส่วนใหญ่เข้าใจว่าจบแต่จริงๆแล้วมันไม่ใช่มันเป็นสิ่งที่บอกว่าสรรพากรดูว่าเรามีรายได้แล้วพอเขารู้ว่าเรามีแฟนแล้วเราก็ต้องยื่นภาษีด้วยถ้าไม่ยื่นข้อมูลไม่ตรงเราไม่ถูกตรวจสอบตรงนี้ก็นั่นน่ะสิหายใจหน้าที่ของมันคือ 1 นำส่งเงินให้กับรัฐ 2

คือถูกหักไว้แล้วก็ถ้าเกิดรับตรวจสอบจะเห็นว่าถ้าคุณคิดจะได้ไม่ครบก็ไม่ตรวจสอบยังไงคุณประโยชน์ 2 ต่อเลยรับเงินก่อนแถมยังสามารถตรวจสอบได้ด้วยอันนี้คือหลักการของเสียงได้แบบง่ายๆก่อนทีนี้เรามาดูตัวอย่างกันเพื่อให้เข้าใจมากขึ้นในเมื่อเป็น 40 นาทีจะไม่ได้พูดในรายละเอียดที่ลึกซึ้งมากแต่อย่าให้เห็นภาพรวมก่อนว่าแต่ละอย่างที่เราจะมาสอนในซีรีย์เนี่ยมันเป็นยังไงบ้างเรามาเริ่มกันที่องค์ประกอบของภาษีเงินได้หักณที่จ่ายก่อนภาษีเงินได้หักณที่จ่ายจะประกอบด้วย 3 ตัวนั้นคือมีคนจ่ายเงินเงินที่ถูกจ่ายแล้วก็คนที่รับเงินคนที่จ่ายเงินเนี่ยมีหน้าที่หักไว้ดังนั้นภาษีหักณที่จ่ายเนี่ยคนที่จ่ายถ้ามีหน้าที่หักแล้วไม่หักกฎหมายถือว่าทำผิดคนที่ได้เงินมีหน้าที่เก็บหนังสือรับรองที่คนที่จ่ายให้นึกภาพออกเวลาเราได้เงินแล้วถูกหักภาษีไว้เนี่ยคนจ่ายเงินเขาต้องให้ใบที่เรียกว่าหนังสือรับรองการหักภาษีณที่จ่ายให้กับเราด้วยอันนี้คนรับเงินหรือผู้มีเงินได้ต้องเก็บไว้ไว้เป็นหลักฐานในการยื่นภาษีปลายปีอย่าลืมวันนี้สำคัญมากก็เก็บไว้เสร็จแล้วเก็บไว้คำนวณภาษีเท่าไหร่เอาตัวเลขทั้งหมดหลักฐานที่แสดงว่าขอคืนภาษีก็ทำให้ขอคืนภาษีได้เร็วขึ้นง่ายขึ้นอันดับแรกถ้ายังไม่รู้อะไรถ้าคุณมีรายได้คุณถูกหักภาษีไว้สิ่งที่คุณต้องทำคือหนึ่งคุณต้องขอเอกสารการหักภาษีณที่จ่ายหรือหนังสือรับรองนี้ 2 คุณต้องเอารายได้ให้ถูกหักภาษีเนี่ยมายื่นภาษีด้วยยกเว้นว่ามันเป็น Final tax จำคำนี้ก็พอยกเว้น Final tax ซึ่งโดยทั่วไปมีอะไรบ้างก็จะมีเรื่องของเงินปันผลดอกเบี้ย 2 ตัวที่ไม่จำเป็นต้องแท็กที่คุ้นเคยกับตัวนึงที่คุณจะเจอบ่อยคือเวลาคุยไม่ขายอสังหาริมทรัพย์ที่กรมที่ดินแล้วคุณจ่ายภาษีถ้าคุณไม่ได้ประกอบธุรกิจอสังหาเนี่ยอันนี้เคยไปนั่นแหละแต่ส่วนที่เหลือที่คุณถูกว่าจะทำงานฟรีแลนซ์ทำงานอะไรมาเป็นมนุษย์เงินเดือนทำอาชีพนี้แล้วถูกหักภาษีไว้เนี่ยรู้ว่าอย่างนึงเลยว่าอันนี้เป็นรายได้ต้องนำส่งภาษีด้วยไม่งั้นผิดนัดอีกที 2

ข้อหนึ่งคือเก็บหลักฐานการหักภาษี 2 ให้ครบนี่คือหน้าที่ของผู้รับที่นี้คนจ่ายเขาจะปรับเราต้องทำไงบ้างคุณเป็นคนจ่ายแล้วได้ฟังคลิปนี้กูก็เท่ากับว่าเราจะต้องหักเท่าไหร่อะไรยังไงเนี่ยจริงๆกฎหมายมีหลักการกำหนดไว้ถ้าเกิดใครเคยดูคลิปเก่าที่ทำในช่องนี้ก็จะเห็นว่ามีสอนวิธีการเปิดตารางก็ลองกลับไปดูได้ทีนี้คุณเป็นคนที่ต้องจ่ายเงินอยากให้เริ่มคำถามแบบนี้จากสามองค์ประกอบที่เมื่อกี้เราคุยกันอันดับแรกคือคุณจ่ายเงินให้ใครคนนั้นเนี่ยมีหน้าที่เสียภาษีหรือเปล่าคำถามแรกต้องถามก่อนว่าคนที่ได้รับเงินที่เราจ่ายให้เนี่ยมีหน้าที่เสียภาษีหรือเปล่า ถ้าคุณจ่ายให้กับคนที่ไม่มีหน้าที่เสียภาษีเงินได้คุณไม่ต้องหักข้อนี้ตัดทิ้งไปก่อนก็ได้ถ้าเอาง่ายๆคือคุณจะรู้อยู่แล้วว่าเวลาคุณจ่ายเงินให้เนี่ยคนส่วนใหญ่ที่รับมารับรายได้ที่คุณจ่ายให้เนี่ยเขาต้องเสียภาษีและไม่ว่าเขาจะเป็นบุคคลธรรมดาหรือลูกจ้างของคุณหรือเป็นบริษัทที่คุณขาดก็เขาซื้อสินค้าหรือเป็นบริษัทที่เขาให้บริการคุณหรือทำอะไรบางอย่างที่คุณต้องหักภาษีของไว้นั้นโดยปกติข้อนี้มันมักจะผ่านคือคุณจะรู้สึกว่าคุณต้องกังวลกับคุณบริจาคให้วัดทำอะไรพวกนี้ทีมเขาไม่ใช่เป็นหน่วยงานไม่ต้องเสียภาษีอันนี้กูก็จะเห็นภาพโอเคพรุ่งนี้ไม่ต้องหักหรือแบบไปจ่ายเงินให้หน่วยงานราชการเลยที่เขาไม่ได้อยู่ในกลุ่มไม่ต้องเสียภาษีกูก็ไม่ต้องหักอยู่แล้วนิเป็น basic เบื้องต้นแต่โดยทั่วไปมักจะต้องหักไอ้คำว่าคนมีหน้าที่เสียภาษีก็อยู่ตรงด้านล่างซ้ายเพราะเห็นว่าคนที่มีหน้าที่เสียภาษีคือคนที่ระบุในประมวลรัษฎากรดังนั้นทุกครั้งที่จ่ายคำถามนี้ตอบไม่ได้ว่าคุณจะให้ใครเลี้ยงคุณจ่ายไปแล้ว 3 องค์ประกอบที่สอนให้พูดได้ใช่ไหมในหน้าที่แล้วคือเงินได้คุณก็รู้ว่าเงินได้ที่จ่ายมันเป็นเงินได้ประเภทไหนตามกฎหมายเพราะเงินได้ทั้งหมด 8 ประเภทเนี่ยมันมีแนวคิดหรือวิธีการหักที่แตกต่างกันคุณก็รู้ว่าให้ฉันจ่ายค่าเช่าเป็นไงสบายดีฮ่าเฮ้ยฉันจ่ายค่าบริการแบบไหนถ้าเป็น Freelance ประเภทที่ 2 ใช้จ่ายเงินเดือนเป็นเงินได้ประเภทที่ 1 ถ้าคุณรู้พรุ่งนี้มันจะทำให้คุณหักง่ายขึ้นสุดท้ายคุณรู้แล้วว่าคุณจ่ายเงินให้ผู้มีเงินได้ที่มีหน้าที่เสียภาษีคุณรู้แล้วว่าเงินได้ประเภทไหนสิ่งที่ต้องไปเช็คท้ายคือคุณเป็นคนจ่ายคุณต้องรู้กฎหมายกำหนดให้ผู้จ่ายมีหน้าที่หักภาษีณที่จ่ายหรือเปล่าซึ่งกฎหมายสำคัญวันนี้มีอยู่ 2 มาตราคือมาตรา 50 กับมาตรา 3 เตรส 2 อันนี้เป็นมาตราตามประชากรถ้าเกิดเอาง่ายๆก็ลองหากฎหมายคือพ. ศ. 2528

เป็นตัวแนบของศาลปกครองอ่านดูมันก็จะมีเขียนไว้หรือจะกลับไปดูคลิปที่แล้วก็ได้ที่พูดถึงว่าวิธีการดูตารางดูยังไงก็ลอง search ดูเดี๋ยวอาจจะแนบลิงค์ไว้ด้านล่างให้เราดูเพิ่มเติมได้ทีนี้พอจ่ายเงินเสร็จอย่าลืมสำคัญสุดเมื่อกี้พูดว่าคนรับต้องทวงหนังสือรับรองคุณเป็นคนจ่ายคุณต้องออกหนังสือรับรองให้เขาด้วยให้เขา 1 ฉบับเก็บไว้สำหรับวันที่ตัวเอง 1 ฉบับเพื่อเป็นหลักฐานพิสูจน์ว่าคุณได้หักภาษีเขาไว้ถูกต้องแล้วโดยหลักการอย่าลืมค่าภาษีหักณที่จ่ายคุณมีหน้าที่หักคุณจ่ายถ้าคุณไม่หักคุณผิดที่เรามาดูตัวอย่างกันตัวอย่างของการหักภาษีณที่จ่ายเนี่ยเล่าแบบนี้คือบริษัท AIA จ่ายค่าเช่าอาคารให้นายบักหนอมจำนวน 10,000 บาท 5 ไร่เรียงตามเมื่อกี้บอกให้คนรับเป็นใครอ๊อฟคือนายแบบหนุ่มซึ่งเป็นบุคคลธรรมดาบุคคลธรรมดาคนนี้ตามกฎหมายคือถ้ามีเงินได้แล้วเงินได้ไม่รับยกเว้นต้องเสียภาษีได้ข้อแรกผ่านข้อ 2 จ่ายอะไรเงินได้ประเภทไหนค่าเช่าอาคารเนี่ยในนิยามของการเช่าเนี่ยมันคือเงินได้ประเภทที่ 5 ตามกฎหมายหรือเงินได้ตามมาตรา 40 วงเล็บ 5 * 2 อันละคุณว่าผู้รับเงินบุคคลธรรมดาคุณรู้แล้วว่าเงินได้จาก 40 วงเล็บ 544 คุณต้องดูต่อคุณเป็นใครคนจ่ายคนจ่ายคุณเป็นบริษัทเอคุณคือนิติบุคคลจิ๊กซอว์คุณต้องไปหาต่อว่ากฎหมายข้อไหนกำหนดไว้ไหมว่านิติบุคคลที่จ่ายเงินได้ประเภท 45 ให้กับบุคคลธรรมดามีหน้าที่หักภาษีณที่จ่ายหรือเปล่าต้องเปิดมาให้ดูตารางให้ต่อวันอาทิตย์ที่แล้วก็จะรู้ว่ากฎหมายที่กำหนดไว้คือ 4/2528 ข้อ 6.1 บอกว่าการจ่ายกรณีนี้เนี่ยให้หักภาษีในอัตรา 5 เปอร์เซ็นต์นั่นคือบริษัทเอจ่ายค่าเช่าให้หมื่นนึงมีหน้าที่หักภาษีไว้ 5% จากจำนวน 10,000 บาทหรือ 500 บาทนั่นเองภาพรวมสรุปแล้วก็ทำแบบนี้คือบริษัทเอจ่ายเงินได้จำนวน 1,000 บาทนั่นคือบริษัทเอจะมีค่าใช้จ่ายจำนวน 10000 บาทเพราะภาษีไม่ใช่ค่าใช้จ่ายหรือออกหมื่นมีค่าเช่าที่ตกลงกันงั้นค่าใช้จ่ายของพรุ่งนี้คือบักหนอมเองมีรายได้ที่เป็นบุคคลธรรมดาก็จะมีรายได้เท่ากับ 100 บาทเหมือนกันให้จ่ายฝ่ายของบริษัทเป็นรายได้ของบุคคลธรรมดา 500 บาทที่หักไปในอัตรา 5 เปอร์เซ็นต์ตามที่กฎหมายกำหนดเนี่ยบริษัทมีหน้าที่นำส่งให้กับสรรพากรก็คือเอา 500

นี้ไปยื่นที่สรรพากรหักไปแล้วเอาภาษีไปส่งสรรพากรออกหนังสือรับรองให้กับนายบักหนอมทำรายงานแล้วพรุ่งนี้จบปั๊บเรียบร้อยความความผิดหมดละมีให้จ่ายภาษีหักเรียบร้อยแน่นอนมีอะไรแน่นอนก็จะรู้ว่าตัวเองถูกหักภาษีไว้ 500 บาทและสรรพากรเนี่ยมีข้อมูลดูว่าเขามีรายได้ค่าเช่าจำนวน 10,000 บาทนั่นคือเขามี 2 หน้าที่ตามมาคือเอาหนังสือรับรองที่บริษัทให้มาเมื่อกี้เก็บไว้และพอปลายปีหรือครึ่งปีอยู่ที่ว่ามหาชน ไปยื่นนำส่งกรมสรรพากรเป็นเงินได้ด้วยตามประเภทที่ 5 หรือ 10 15 จำนวน 1,000 บาทนี่คือ 1 เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นถ้าได้บอกน้องมีการให้เช่าทุกเดือนก็ต้องเอาทั้งหมด 12 เดือนแล้วมายื่นภาษีก็จะเห็นว่าสิ่งที่เกิดขึ้นคือภาษีที่ถูกขับมันก็จะมากขึ้นจาก 500 เป็น 6000 บาทก็เอา 500 * 12 สมมุติว่าคำนวณภาษีออกมาทั้งหมดเลยหรอถึงต้องเสียภาษีเป็นจำนวน 4,000 บาทสิ่งที่เกิดขึ้นก็คือภาษีต้องเสียแค่ 4000 กว่าแต่ถูกหักละ 6,000 ดังนั้นมีสิทธิ์ขอคืนภาษีได้จำนวน 2,000 บาทนั่นเองหลักการของภาษีหักณที่จ่ายมีแค่นี้

ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย คืออะไร

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

กองทุนรวมคืออะไร มือใหม่ควรอ่าน

ความหมายของกองทุนรวม คืออะไร กองทุนรวม คือ กองทุนที่รวบรวมเงินไปใช้ในการซื้อสินทรัพย์หรือตราสารต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นหุ้น น้ำมัน ทองคำ หรือจะเป็นการลงทุนในค่าเงินต่างๆในต่างประเทศ ซึ่งการใช้บริการกองทุนรวมจะช่วยให้เงินของเราถูกจัดการและลงทุนด้วยผู้เชี่ยวชาญด้านการลงทุนในสินทรัพย์ต่างๆอย่างเหมาะสม โดยผู้เชี่ยวชาญต้องมีใบอนุญาต ผ่านการอบรม และมีการลงทุนอย่างเป็นระบบตามกฎหมาย และสามารถลดความเสี่ยงได้ด้วยการแบ่งการลงทุนในแต่ละส่วนตามหลักการที่ถูกต้องของกองทุนรวม ดังนั้นจึงมั่นใจได้ว่าการลงทุนของเราจะได้รับผลตอบแทนที่ดี โดยไม่จำเป็นต้องเสี่ยงกับการขาดทุนจนเกินที่จะรับได้ กองทุนรวมทุกกองทุนถูกควบคุมด้วยกฎหมายและระบบธนาคาร ไม่มีกองทุนใดมีความเสี่ยงมากเกินไปและสามารถทำกำไรให้เกิดดอกออกผลให้กับเราอย่างเหมาะสม การลงทุนในกองทุนรวมจะทำให้เราได้รับผลตอบแทนมากกว่าฝากเงินเยอะมาก บางกองทุนมีผลตอบแทนมากถึง 10 – 20 เปอร์เซ็นต์ต่อปี แต่หากเราใจร้อนอยากได้ผลตอบแทนรวดเร็วทันใจขอแนะนำกองทุนรวมระยะสั้นที่สามารถลงทุนและรับผลตอบแทนใน 1 ถึง 6 เดือน กองทุนที่มีการบริหารจัดการที่ดี ผู้เชี่ยวชาญแบ่งการลงท

คำคมจากความคิดของมหาเศรษฐีอยากรวยต้องอ่าน

คำคม ความคิดของมหาเศรษฐี กล่าวไว้ว่าถ้าเราอยากจะเป็นแบบใครก็ให้เรียนแบบคนที่เป็นแบบนั้นซึ่งถ้าเราอยากจะเป็นคนที่ร่ำรวยแล้วแล้วก็แน่นอนว่าเราก็ควรจะต้องเรียนรู้วิธีคิดในแบบของคนที่รวยๆดังนั้นในวันนี้แอดมินก็เลยมี 15 คำคมจากความคิดของมหาเศรษฐีระดับโลก 10 การมาฝากกันและเพื่อไม่ให้เป็นการเสียเวลาเราเรียนรู้วิธีคิดของเขาไปพร้อมๆกันเลยดีกว่า เรามาเริ่มต้นกันที่คำคมแรกของวอร์เรนบัฟเฟตต์นักลงทุนผู้โด่งดังชาวอเมริกากันโดยเขาได้กล่าวเอาไว้ว่า if you don't Find the way to make Money while You Sleep you will work Until You Die ซึ่งก็หมายความว่าถ้าคุณไม่สามารถหาทางที่จะหาเงินได้ในขณะที่คุณหลับคุณก็จะต้องทำงานไปอย่างนี้จนกระทั่งคนตายซึ่งแอดมินคิดว่าสิ่งที่คุณวอร์เรนบัฟเฟตต์ต้องการที่จะสื่อไปถึงนั้นก็หน้าจะเป็นการทำธุรกิจหรือการลงทุนที่มันให้ผลตอบแทนในรูปแบบของภาษีเป็นคำนั้นเองเมื่อที่ คำคมประโยคที่ 2 ที่ก็ยังเป็นของคุณวอร์เรนบัฟเฟตต์ที่เขาได้เคยกล่าวเอาไว้ว่า If you buy Things You don't need you will have to sell Things you need ซึ่งตรงนี้ก็สามารถแปลได้ง่ายๆแบบตรงตัวเลยว่าถ้

ความเสี่ยงใน ตราสารหนี้

ความเสี่ยงใน ตราสารหนี้ เยอะหรือไม่ ความเสี่ยงใน ตราสารหนี้ แต่ว่าความเสี่ยงในเรื่องของความผันผวนของราคาอันนี้เกิดขึ้นได้เพราะว่าราคาตราสารหนี้มันแปรผกผันกับอัตราดอกเบี้ยในตลาดเรายกตัวอย่างง่ายๆว่าสมมุติว่าเมื่อปีที่แล้วคุณกระแตซื้อหุ้นกู้ตัวนึงที่ให้อัตราดอกเบี้ย 5% ผ่านมา 1 ปีปัจจุบันนี้ถ้าเกิดบริษัทเดิมจะออกหุ้นกู้เนี่ยเขาอาจจะจ่ายดอกเบี้ยเพิ่มขึ้นเป็น 6 เปอร์เซ็นต์แล้วเพราะฉะนั้นแปลว่าหุ้นกู้ที่คุณกระแตซื้อเมื่อปีที่แล้วจะขายปีนี้ได้ราคาก็ลดลงมาถึงไหนใช่เพราะว่าถ้าคนซื้อใหม่ก็ได้ 6% แล้วเพราะฉะนั้นนี่แหละแต่ในทางกลับกันถ้าเกิดว่าดอกเบี้ยไม่ขึ้นแต่ถ้าดอกเบี้ยปีนี้เกิดดอกเบี้ยลมมึง เขียน ใหม่ของบริษัทเอเหลือ 4% ตัวใหม่ที่ออกมานี่ให้ดอกเบี้ยแก้อักเสบเพราะฉะนั้นแปลว่าหุ้นกู้ที่คุณกระแตซื้อเมื่อปีที่แล้วตอนนี้ขามูลค่าเพิ่มขึ้นไปแล้วอันนี้ล่ะที่เป็นความจริงๆคือราคานี้เปลี่ยนแปลงได้จากอัตราดอกเบี้ยในตลาดที่เปลี่ยนไปแล้วก็ถูกว่าอัตราดอกเบี้ย กองทุนเช่นสมมุติว่าลงทุนในกองทุนพันธบัตรบาทแล้วก็ถ้าโชคดีเราหรอกเรามองตลาดถูกว่าอัตราดอกเบี้ยเนี่ยมันเป็นขาลงเพราะฉะนั้นเนี่ยราคาของตัวสารหนี้